ภูมิปัญญาพื้นบ้าน

ภูมิปัญญาพื้นบ้านวิถีชีวิตชาวนากับระหัดน้ำในลำน้ำมูล


เรื่องราวของระหัดทดน้ำในลำน้ำมูล ระหัดทดเข้าสู่นาเกิดขึ้นในยุคหรือว่าสมัยใดนั้นไม่มีใครจะทราบได้แต่เมื่อทุกคนเกิดมาจะได้เห็นการทำนาน้ำมูลจะได้เห็นรหัสททน้ำเป็นของคู่กันกับแม่น้ำมูล
มาตั้งแต่ยุคสมัยของปู่ย่าตาทวด มาแล้วเพราะที่อำเภอโชคชัยสมัยก่อนประมาณพ. ศ. 2500 ระหัตโทษน้ำจะมีอยู่จำนวนมากมายหลายหลังไม่ว่าจะเป็นทางด้านทิศเหนือถนนสายโชคชัยเดชอุดมหรือด้านทิศใต้ถนนเมื่อเราเดินไปไร่นาเราจะ เห็นระหัดทดน้ำทุกช่วงพื้นที่ของลำน้ำมูลของแต่ละเจ้า ที่มีที่นาติดกับลำน้ำมูลถ้าฤดูไหนเป็นฤดูที่มีน้ำหลากเราจะได้เห็นระหัดทดน้ำเข้าสู่หน้าตลอดทั้งวันทั้งคืนไม่มีหยุดพักผ่อนแต่สมัยนี้แทบจะไม่มีใครได้เห็นกันแล้ว เพราะการที่จะทำระหัดทดน้ำหรือเพียงแต่จะซ่อมแซมระหัดทุกวันนี้ก็จะไม่มีให้เห็นแล้ว เพราะว่าไม้ที่จะมาทำการซ่อมแซมระหัดนั้นหายากมากเมื่อก่อนพอจะเสร็จสิ้นจากการเก็บเกี่ยวข้าวชาวบ้านหรือเรียกกันง่ายๆว่า มูลจะมีการลงแขกนำล้อนำเกรียนไปตัดไม้ที่ป่าดงอีจาน เพื่อที่จะนำเอาไม้เหล่านั้นมาซ่อมแซมระหัดเมื่อได้ไม้ตามที่ต้องการแล้วก็จะกินเพื่อนบ้านอีกครั้งหนึ่ง ช่วยกันซ่อมแซมระหัดเพื่อให้ใช้การได้การซ่อมแซมระหัดนั้นจะ ทำช่วงหน้าแล้งเพราะเป็นช่วงที่มีนาไม่มากเมื่อก่อนนั้นแม่น้ำมูลจะมีน้ำไหลผ่านตลอดทั้งปีไม่มีขาดวัง (คำว่าหวังนั้นหมายถึงช่วงของระหัด หลัง 1 ทิ้งช่วงไปจนถึงระหัดอีกหลัง 1 คือระยะห่างของระหัดแต่ละหลัง จะเป็นแอ่งน้ำที่กว้างใหญ่ที่ชาวบ้านเรียกว่าวังเช่นวังวนคือน้ำที่ไหลผ่านระหัดมาแล้วจะหมุนวนเป็นวงกลมชาวบ้านจึงเรียกกันว่าวังวนหรือวังศาลเจ้าคือชาวบ้านจะเชื่อเรื่องของภูตผีปีศาจเพื่อที่จะไม่ให้มาเบียดเบียนใน การทำงานจึงยกศาลขึ้นเพื่อบวงสรวงชาวบ้านจึงเรียกติดปากกันว่าวางศาลจ้าวนี่คือคำเรียกที่สืบทอดกันมา) หน้าแล้งจะมีน้ำไหลผ่านตลอดเวลาไม่เหมือนอย่างทุกวันนี้จะหน้าฝนเท่านั้นพอถึงช่วงเดือนมีนาเดือนเมษาน้ำก็จะ คาดหวังคนที่อำเภอโชคชัยและอำเภอครบุรีนี้เป็นต้นกำเนิดของการจัดทำระหัดทดน้ำก็คงจะไม่ผิดเพราะอยู่ต้นน้ำมูล(เมื่อก่อนของช่วงมูลบนนั้นขึ้นอยู่กับอำเภอก็โทรหรืออำเภอโชคชัยด้วยตอนนั้นยังไม่ได้แยกอำเภอครบุรีออกจากอำเภอโชคชัย) ดังนั้นชาวบ้านยังถือนามสกุลต่อท้ายคำว่ากระโถนอันเป็นสัญลักษณ์มาจนทุกวันนี้และสิ่ง 1 ที่พัฒนามาพร้อมกับความรู้เรื่องของระหัดทดน้ำก็คือการเรียนรู้จะปู่ย่าตายายสืบทอดกันมาจนเกิดเป็นวัฒนธรรมชุมชนพื้นบ้าน อย่างน่าภาคภูมิใจแต่ทุกวันนี้กดแอดของระหัดทดน้ำกำลังจะเลือนหายไปเหมือนกับลมหายใจของคนเรานับเวลารอวันที่จะตายคือการหายใจรามอินทรารวยรอวันสูญสิ้นหายไปตามกาลเวลาในอีกไม่ช้าเพราะคนรุ่นหลังไม่นิยมที่ จะทำนาจึงได้ลงลืมระหัดทดน้ำกันเข้าไปทุกทีและอีกประการ 1 คือการที่จะซ่อมแซมระหัดน้ำนั้นเกิดความยุ่งยากเอามากๆเพราะในยุคนั้นสมัยทุกวันนี้การสื่อสารภูมิปัญญาชาวบ้านอนาคตจึงน่าเป็นห่วงยิ่งนักสิ่งประดิษฐ์ที่ปู่ย่าตายาย นำมาสืบทอดกันมายาวนานที่เรียกกันว่าระหัดขวดน้ำที่ตั้งอยู่ในลำแม่น้ำมูลก็จะเลือนหายจากลูกแม่น้ำมูลนับวันก็จะไม่มีใครพบเห็นหรือได้สัมผัสกับชีวิตที่เป็นธรรมชาติอย่างแท้จริงและภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่คิดค้นและสืบทอด กันมาเมื่อสอบถามหรือหาหลักฐานต่างๆก็ไม่มีใครรู้ได้ว่าระหัดกดน้ำทำกันมาตั้งแต่ยุคหรือสมัยใดกันแน่ไม่มีใครรู้เมื่อเกิดมามีอายุ 90 ถึง 100 ปีหรือเมื่อจำความได้พ่อกับแม่ก็จะนำออกมาไปทำนา ก็จะเห็นระหัดทดน้ำเข้านากันแล้วจึงไม่รู้ว่ามันเกิดขึ้นในยุคใดหรือว่าสมัยใดกันแน่นอนเพียงแต่ว่าเคยมีส่วนร่วมในการประดิษฐ์ระหัดช่วยพ่อแม่ทำรหัสหรือว่าซ่อมแซมระหัด ระหัดทดน้ำจึงน่าจะมีอายุระหว่าง 150 หรือ 200 กว่าปีเป็นอย่างน้อยหรือเกิดขึ้นมาพร้อมพร้อมกับลำน้ำมูลหรือ เกิดมาหลายช่วงอายุคนตลอดลำน้ำมูลที่ผ่านเขตอำเภอครบุรีก่อนจะเข้าสู่อำเภอโชคชัยนั้นจะมีใครได้เห็นกันบ้างไม่มากแต่ก็พอที่จะหาดูได้จุดประสงค์หลักของระหัดทดน้ำ คือการทดน้ำขึ้นจากลำน้ำมูลมาใส่ข้าวในนาเพาะปลูกตลอดฤดูกาลแต่ละคันสามารถผ่านน้ำขึ้นมาทำนา 1 วันได้ถึง 3 ถึง 4 ไร่ขึ้นอยู่กับระหัดตั้งอยู่ในช่วงนำน้ำแคบเท่าใดยิ่งแคบก็ยังผ่านน้ำได้มาตลอดฤดูฝนจะได้ยินเสียงระหัดทดน้ำ ดังออดแอดประสานเสียงกลางวันไปไกลและในอำเภอโชคชัยตอนนี้จะมีระหัดทดน้ำรวมกันประมาณ 10 หลังเพราะช่วงลำน้ำมูลด้านทิศใต้จะมีการนำเอารถออกไปขุดลอกลำน้ำมูลที่ตื้นเขินให้ลึกระหัดก็จะสูญ ไปด้วย ส่วนช่วงทางทิศเหนือยังอยู่ในสภาพที่คงเดิมอยู่แต่ก็มีโรงงานไปตั้งอยู่ในบริเวณนั้นอีกไม่นานก็คงจะสูญหายไปช่วงลำน้ำมูลที่แคบนี้ชาวบ้านบอกว่ามีขนาดเหมาะสมไม่กว้างเกินไปทำให้แม่น้ำมูลช่วงนี้ไหลแรงพอจะพักดันรหัสให้หมุนได้ดี ประกอบกับได้สั่งสมภูมิปัญญาเชิงช่างประดิษฐ์มายาวนานจากรุ่นปู่ย่าตายายมาสู่ยุคของลูกของหลานการติดตั้งในลำน้ำยมใช้จำนวนมากไม่ต่ำกว่า 70 ถึง 80 คน ดังนั้นจึงเกิดมีประเพณีร่วมแรงร่วมใจกันยกรหัสททน้ำ มีพิธีเส้นไหว้แม่น้ำและเจ้าที่เจ้าทาง เป็นที่น่าเสียดายพิธีกรรมเหล่านี้เลิกไปพร้อมกับการยุตติการประดิษฐ์รหัสททน้ำในช่วงที่ไม่นานมานี้เองและปัจจุบันเหลือเพียง 3 ถึง 5 คันทั้งอำเภอที่ยังพอใช้งานได้อยู่แต่ก็ชำรุดไปมากแล้วและ ไม่มีไม้ที่จะมาเปลี่ยนจึงปล่อยให้ชำรุดหักพังไปตามกาลเวลาเพราะเจ้าของไม่สามารถที่จะรักษาเยียวยากันได้ต่อไปจึงได้แต่มองดูสิ่งที่ปู่ย่าตายายนำมาทำกับมือกำลังจะสูญหายไปกับตาในเวลาอันใกล้นี้



สากเหมิ่งพื้นบ้าน


สากเหมิ่งเป็นชื่อเรียกของการตามข้าวอีกอย่างหนึ่งคือการตำข้าวเม่า การตำสากเหมิ่งนั้นจะต้องมีคนช่วยตาม 2 คนและจะต้องมีคนจากกะไหล่ 1 คนไม้จักกะไหล่นี้ไว้สำหรับใช้แซะข้าว
ที่อยู่ก้นครกให้กระจาย ขึ้นมาเพื่อที่จะไม่ให้ข้าวจับตัวกันเป็นก้อนเพราะข้าวเปลือกที่ควรใส่ไปในครกนั้นสุขและมีความร้อนมากเมื่อต่ำลงไปจะทำให้เมล็ดข้าวเป็นติดกันจึงต้องใช้ไม้จักกะไหล่ลงไปคนให้กระจายการจักกะไหล่จะต้อง เป็นคนที่มีความว่องไวพอสมควรเพราะการตามสัก 10,000 นั้นคนตามจะมาถึง 2 คนดังนั้นการจักกะไหล่จะต้องระวังทั้งสองด้านส่วนสากเหมิ่งจะมีความยาวประมาณ 3.50 เมตร หรือ 4 เมตรขึ้นไปและการตาม จะต้องใช้มือคำศัพท์ให้หลวงถ้ากำแน่นจนเกินไปสักจะไม่ดังสากเหมิ่ง ทำจากไม้เนื้อแข็งเช่นไม้มะหาดหมายแดงหรือเนื้อไม้เช่นรักทรายเนื้อไม้นั้นแก่นต้องไม่สนและไม่มีตำหนิเพราะการทำสักนั้นจะต้องนำไม้มาทาหรือเปล่า ให้ได้เป็นรูปวงกลม ด้านปลายสาดจะมีขนาดเล็กพอประมาณเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้วส่วนครกทำจากไม้เนื้อแข็งเช่นกันคือนำเอาไม้มาตัดให้ได้ประมาณ 60 ถึง 70 เซนติเมตรเป็นรูปวงกลมแล้วเจาะรูในกลางลึกประมาณ 25 เซนติเมตร ปากกว้างเวลาตามเสียงจะดังกังวาลไปไกลเสียงดังเหมิ่ง - เหมิ่งชาวบ้านจึงพากันเรียกว่าสากเหมิ่งนี่เป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านในสมัยก่อนนับเป็นภูมิปัญญาที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นของคนกระทู้ที่ปู่ย่าตายายได้มอบซับมึงไว้เป็น มรดกทางภูมิปัญญาที่มีอายุนานนับ 100 กว่าปีให้ลูกหลานได้ศึกษาหากแต่คนทั่วไปอาจจะไม่เห็นถึงความอัศจรรย์ของซักมือโดยอาจจะเห็นเพียงว่าเป็นสั่งซ้ำข้าวธรรมดาจะพิเศษก็เพียงแต่มีขนาดใหญ่และยาวกว่าสัตว์ธรรมดาทั่วไปเท่านั้น การตามจะต้องอาศัยคนหนุ่มสาวมาช่วยกันไม่ว่าจะเป็นคนจากหมู่บ้านไหนก็ตามเมื่อได้ยินเสียงก็จะออกมาเที่ยวเพราะในสมัยก่อนไม่มีรถยนต์ที่เสียงดังรบกวนและไม่มีเครื่องเสียงเหมือนอย่างทุกวันนี้พอเวลาค่ำลงจึงได้ยินเสียง ซักมือที่ต่ำเสียงลอยมาจากตามลมแต่ไกลจึงได้รู้ว่ามีหนุ่ม 3 หมู่บ้านนั้นกำลังตามซักมือกันและเป็นการเปิดโอกาสให้คนหนุ่มสาวจากต่างหมู่บ้านได้เกี้ยวพาราสีกันแต่การตามแต่ละครั้งจะต้องใช้เวลาในการตำตั้งแต่ 6 โมงเย็นถึง 6 ทุ่ม สมัยก่อนยังไม่มีไฟฟ้าใช้จะใช้ได้แต่ตะเกียงที่ใช้น้ำมันก๊าซหรือตะเกียงเจ้าพายุเท่านั้นเสียงที่ต่ำนั้นจะดังรอยตามลมไปไกลเป็นระยะทางหลายกิโลเมตรเป็นสิ่งที่คนโบราณได้ประดิษฐ์คิดค้นและแฝงไปด้วยความฉลาดแยบยลกล่าวคือ วัฒนธรรมไทยในสมัยก่อนลูกผู้หญิงก็ต้องรักนวลสงวนตัวหลังจากทุกคำไปแล้วพ่อแม่ไม่อนุญาตให้ออกนอกบ้านถึงแม้จะมีงานบ้านหรือมีงานมหรสพรื่นเริง ก็จะไม่ให้ลูกสาวออกไปเที่ยวชมการละเล่นหรือถ้าไปต้องอยู่ใกล้กับ พ่อแม่ผู้ชายจะหากาดเกี้ยวพาราสีหรือเข้ามาคุยด้วยได้ยากมากหนุ่มสาวที่หมายปองกันไว้ก็จะหาโอกาสคุยกันเวลาที่พ่อแม่เผลอแต่ก็มีโอกาสน้อยเต็มทียามที่ทำไร่ไถนาหนุ่มหนุ่มที่รักสาวบ้านไหนก็จะอาสาเอาแรงเค้าช่วยทำไร่ ไถนาของฝ่ายหญิงนั้นเป็นเพียงโอกาสเดียวที่จะมีโอกาสได้ใกล้ชิดคู่รักของตน แต่ก็ไม่วายที่จะถูกฝันผู้ใหญ่ของฝ่ายหญิงกีดกันไว้ ด้วยเหตุนี้เองยังคงมีผู้เฒ่าผู้แก่บางคนที่คงจะเห็นใจฝ่ายหนุ่มป้างจึงเป็นอีก 10 คนสากตำข้าว ที่มีใช้อยู่แล้วในทุกบ้านให้มีขนาดใหญ่และพื้นที่ยาวขึ้นเสียงของการตามข้าวก็จะดังออกไปไกลติดกิโลเมตรอันเป็นสัญญาณอย่างดียิ่งว่าในการบอกถึงการเชื้อเชิญให้ฝ่ายชายได้มาช่วยสาวสาวตำข้าวในค่ำคืนที่มีเดือนสุขสว่าง เต็มท้องฟ้าการตามสากเหมิ่งของคนในสมัยก่อนนั้นเหมือนเป็นการเตือนให้คนหนุ่มสาวได้รู้ว่าฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าวจะมาถึงในอีกไม่นานนี้การกระทำของผู้เฒ่าผู้แก่เป็นการกระทำที่ฉลาดเพราะเป็นการเตือนให้รู้ว่าเวลาของการออกไป เที่ยวเตร่เฮฮากำลังจะหมดไปและจะเตรียมเครื่องมือสำหรับการเก็บเกี่ยวให้พร้อมสำหรับการเก็บเกี่ยวในปีนั้นสัตว์ที่ใช้ตามนี้เสียงดังกังวาลไปไกล สักมึงนั้นรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไรสักมึงนั้นเท่าที่ทราบว่ามีอยู่ที่อำเภอจักรราช อำเภอเฉลิมพระเกียรติอำเภอโชคชัยอำเภอครบุรีอำเภอเสิงสางอำเภอหนองบุนนาคเมื่อก่อนเราเป็นพวกอยู่มีการตามจากมึงก่อนจะแยกอำเภอต่างๆออกไปปกครองตัวเองแต่ทุกวันนี้ยังมีเพียงหลงเหลือให้ได้ดูบ้างไม่กี่คู่เพราะ ไม่มีไม้ที่จะมาทำส่วนไม้ที่ทำพอจะทำได้ก็มีอยู่ในแต่ในป่าสงวน ที่อื่นๆตามหัวไล่ไปนาไม่มีไม้ที่ยาวพอที่จะทำได้ส่วนที่เหลืออยู่ทุกวันนี้กำลังจะสูญหายไปของใหม่ก็จะไม่มีมาเพิ่มเติมแต่ภาวนาขอให้พวกเราทุกคนช่วยกันรักษา สิ่งที่มีอยู่ในทุกวันนี้อย่าให้มันเสียหายหรือชำรุดหักพังไปช่วยกันดูแลรักษาเอาไว้เพื่อให้คนรุ่นหลังได้เห็นบ้างก็ยังดีถึงจะไม่ได้ตามกันเหมือนอย่างแต่ก่อนแต่ก็ได้เห็นของจริงที่มีอยู่ตามหมู่บ้านย่อมจะเป็นประโยชน์ต่อการที่จะ ได้พบเห็นได้ศึกษาศิลปะวัฒนธรรมของคนโบราณที่นำมาสืบทอดจนถึงสมัยปัจจุบันดีกว่าที่เขาได้ยินคำว่าสากเหมิ่ง



ทองเหลืองบ้านบิง


หัตถกรรมเครื่องทองเหลืองบ้านบิง เกิดจากภูมิปัญญาของชาวบ้าน ซึ่งเป็นอพยพครอบครัวไปรับจ้างใช้แรงงานถิ่นอื่น เมื่อทำงานมีความรู้และประสบการณ์จึงคิดกลับมาสร้างงานให้กับท้องถิ่นของตน
ด้วยการรวมตัวกันรับจ้างผลิตหัตถกรรมเครื่องทองเหลือง ในลักษณะรับจ้างทำงานจากความต้องการของผู้สั่งสินค้าและยึดเป็นอาชีพการทำหัตถกรรมทองเหลือง โดยเริ่มจากหลานชายครอบครัวนายสาธิตและนางเปลื้อง ต่อกระโทก ไปรับจ้างทำงานในโรงงานหัตถกรรมเครื่องทองเหลืองที่ตำบลท่ากระยาง อำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี เมื่อมีความรู้ ความชำนาญและประสบการณ์ จึงขอลาออกจากโรงงานที่ลพบุรีกลับมารับจ้างทำที่บ้านในอำเภอโชคชัย โดยนายสาธิตและนางเปลื้องเป็นผู้ลงทุน และหลานชายเป็นผู้ช่วยด้านแรงงาน และมีผู้ผลิตในบ้านบิงอยู่ประมาณ 10 กลุ่ม เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2541 นายปองชัย จุลเนตร นายอำเภอโชคชัยในขณะนั้นได้ออกหนังสือรับรองผู้ประกอบการหัตถกรรมเครื่องทองเหลืองบ้านบิง เพื่อเสนอศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาค 6 จังหวัดนครราชสีมา เป็นแนวทางให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการด้านเงินทุนหมุนเวียน โดยมีนายจำลอง แก้วดวงเล็ก เป็นหัวหน้ากลุ่ม นับได้ว่าชาวบ้านบิง หมู่ที่ 8 ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย เป็นผู้ผลิตเครื่องทองเหลืองกลุ่มแรกที่ได้พัฒนา ฝีมือตัวเองจนเป็นที่ยอมรับจากลูกค้าผู้สั่งซื้อ ทั้งในและนอกประเทศ ซึ่ลูกค้าจะสั่งสินค้าตามจินตนาการของลูกค้าที่ต้องการ เช่น รูปแบบของเทพเจ้า รูปสัตว์ในเทพนิยาย พระพุทธรูปและศิลปะอื่นๆ อีกมากมาย จนมีชื่อเสียง โดยเฉพาะความประณีตและความละเอียดของฝีมือช่างทำทองเหลือง ซึ่งกลายเป็นจุดขายและจุดสนใจของอำเภอโชคชัยจนถึงทุกวันนี้ และในปัจจุบันยัง เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการทำเครื่องทองเหลือง ขึ้นชื่อของอำเภอโชคชัยและได้รับการยกย่องจากมหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมาด้าน “รางวัลเชิดชูเกียรติ ปี 2549”
ข้อมูลการติดต่อ ที่อยู่ : หมู่ที่ 8 ตำบลโชคชัย อำเภอโชคชัย จังหวัดนครราชสีมา 30190
หน้าแรก